View Full Version : Carbon steel VS Stainless steel
เหอ เหอ ... มีคนว่ามาว่าไว้แบบนี้ ที่ BF ...
"...
Just read a study where 3 carbon steels were compared to a stainless steel blade, all the same geometry, same sharpness, and same hardness. The stainless blade did better than the other three blades, doing the same cutting, with respect to edge retention. All three carbon steel blades were forged. The stainless blade was ground from stock received from the steel supplier.
This study shows that the old common knowledge about stainless steels not holding an edge as long as carbon steel isn't true. It also shows the common knowledge about stainless not getting as sharp as carbon steel is also not true. The forging of the carbon steels is only mentioned here because it was in the study. There is not enough evidence to show that had anything to do with the results.
Most members here probably already knew this, but the old myths still lurk in dark corners even here.
...."
ว่ากันไป 5 หน้าแล้ว ... ตามไปอ่านกันได้ที่นี่ครับ http://www.bladeforums.com/forums/showthread.php/915364-2-Myths-About-Carbon-Steel
:rolleyes: แต่ไอ้ที่ว่าแบบข้อความข้างบนนั่น มันก็เหมือนพูดไปเรื่อยเปื่อย มันเป็นสิ่งที่เอามาทำให้เท่ากันแล้วเอามาเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ที่ไหนกัน ... หุหุ
:rolleyes:แปลให้ด้วยจิ :D:D:D
:rolleyes:แปลให้ด้วยจิ :D:D:D
บ้า แปลแล้วรู้เรื่องจะมาแปะทำไม ฮา ฮา :p
anaconda
03-10-12, 03:23 PM
บ้า แปลแล้วรู้เรื่องจะมาแปะทำไม ฮา ฮา :p
แต่ผมไม่รู้เรื่องเฟ้ย แปลให้หน่อย ทั้งสองหล่อนั่แนหละ มารกิ + หนุ่มฟลาย
ผมไม่ออก ชวนปวดหัวจะตายชัก
แปลออกแล้วเลือกข้างเอามีดเหล็กที่ชอบแบบของใครของมันมาไล่แทงกันตายพอดีครับ :p
สองเล่มนี้ทำให้เพื่อนรุ่นพี่ครับ คนหนึ่งจะเอาคาร์บอน(ชอบแล่เนื้อ)คนหนึ่งขอสะแตนเลท(ชอบตกปลา)
ลืมถามเหตุผล :o
http://i50.tinypic.com/5xq1f.jpg
http://i47.tinypic.com/fn5saw.jpg
http://i49.tinypic.com/14j5400.jpg
จากการศึกษาเปรียบเทียบมีดเหล็กคาร์บอน 3 เล่ม กับมีดเหล็กสแตนเลส 1 เล่ม ลักษณะคมเหมือนกัน องศาคมเหมือนกัน รึความแข็งเท่ากัน มีดสแตนเลสเหนือกว่าฯลฯ ประมาณนี้ใช่ปล่าว :confused:
รู้แต่ว่าตอนนี้ฟัดกันฝุ่นตลบ อ่านไม่ไหวแปลไม่ออก คุยกับน้าฮูยังง่ายกว่าอีก :p
http://i50.tinypic.com/5xq1f.jpg
http://i47.tinypic.com/fn5saw.jpg
http://i49.tinypic.com/14j5400.jpg
ว๊าวว Love :love:
สองเล่มนี่เท่ากันเกือบทุกอย่างครับ ผิดแต่ความแข็งส่วนคม ตัวซ้ายเหล็ก01 63 ตัวขวา12c27 59
อีกไม่นานคงรู้ผลตัวไหนดีกว่ากันครับ :p อ้อ!! บางคนชอบซองหนังบางคนชอบไข่เด็ก เถียงกัน
ถ้าจะจบก็คงต้องแทงกันอีกแหละ... :p
น้ากบ-Seaman
03-10-12, 03:45 PM
อ่านมากปวดหัว
ผมฟันธงอย่างนี้ครับ
เข้าป่า ใช้งานทั่วไป มรดกพ่อ เหลือๆ
พกเท่ห์ พกลุย หรือจะเอา, แมงมุมมะลิ
แค่นี้ก็พอละครับผม :D
เออผมเพิ่งสอย Spyderco Techno มา CTS-XHP เค้าโม้ว่าคาร์บอนเท่ากับ D2 แต่โครมเมี่ยม 14 .... เจ๋งปะหละ :D
สองเล่มนี่เท่ากันเกือบทุกอย่างครับ ผิดแต่ความแข็งส่วนคม ตัวซ้ายเหล็ก01 63 ตัวขวา12c27 59
อีกไม่นานคงรู้ผลตัวไหนดีกว่ากันครับ :p อ้อ!! บางคนชอบซองหนังบางคนชอบไข่เด็ก เถียงกัน
ถ้าจะจบก็คงต้องแทงกันอีกแหละ... :p
คอมีดอย่างงาม :2TU:
เอ... ผมว่าก็ตอบโจทย์ได้ดีทั้งสองเล่มนะครับ :D
O1 (63) นี่ลามิเนทใช่ป่าวครับ :rolleyes:
ประเด็นแบบนี้ ตายตกตามกัน ก็คงยังไม่เลิก . . . :rolleyes:
คุยเรื่องยอดมีดคมบางตัดตะปูดีกว่า
:p
pum_rakwana
04-10-12, 10:04 AM
คอมีดอย่างงาม :2TU:
เอ... ผมว่าก็ตอบโจทย์ได้ดีทั้งสองเล่มนะครับ :D
O1 (63) นี่ลามิเนทใช่ป่าวครับ :rolleyes:
ดูจากภาพน่าจะโมโนนะน้า ปรกติมันไม่ค่อยชอบไปยุ่งกะใครยกเว้นคลุกวงในกะ แอล6 หรือ 5160
ดูจากภาพน่าจะ รมดำก่อนแล้วค่อยปาดเก็บเหมือนๆ เดเนี่ยล คลอสเตอร์
pum_rakwana
04-10-12, 10:06 AM
:rolleyes: แต่ไอ้ที่ว่าแบบข้อความข้างบนนั่น มันก็เหมือนพูดไปเรื่อยเปื่อย มันเป็นสิ่งที่เอามาทำให้เท่ากันแล้วเอามาเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ที่ไหนกัน ... หุหุ
ตีกันตายก็ยังหาคำตอบไม่เจอ
เอาไว้ชัดๆๆ จะๆ เหมือนฟิล์มกะดิจิตอลก่อน แล้วค่อยสรุปยังทัน
ถ้าไม่ต้องระวังสนิมกันมากมาย แบบมีดใช้กับน้ำ กับทะเล ป่าดิบชื้น
ผมว่าเหล็กกล้าที่ใช้แล้วมี patina มอมๆ เป็นเสน่ห์อย่างหนึ่ง
ผ่านประสพการณ์มามาก มีเรื่องราวเล่าขาน
ความรู้สึกล้วนๆ เหมือนกางเกงยีนส์ยิ่งใช้ ยิ่งเก่ายิ่งเก๋า
:cool:
อ่านตัวจริงแล้ว http://www.bestexcompany.com/parks/knives/paper_from_journal.pdf
ที่กำลังทะเลาะกันหกเจ็ดหน้า เพราะนายคนนั้นสรุปครอบคลุมมากไปหน่อย
งานวิจัยมันบอกได้แค่ว่า สเตนเลสบางชนิด (AEB-L) ที่ความแข็งบางค่า สามารถทนต่อการสึกหรอแบบ CATRA (เฉือนกระดาษ) ได้พอๆกันหรือดีกว่าเหล็กคาร์บอน (จริงๆข้อนี้เราก็ทราบกันมานานแล้ว)
ถ้าจะเอามาสรุปว่าสเตนเลสดีกว่าเหล็กคาร์บอน (หรือเหล็กคาร์บอนดีกว่าสเตนเลส) ก็ออกจะเกินไปหน่อย :(
ดูจากภาพน่าจะโมโนนะน้า ปรกติมันไม่ค่อยชอบไปยุ่งกะใครยกเว้นคลุกวงในกะ แอล6 หรือ 5160
ดูจากภาพน่าจะ รมดำก่อนแล้วค่อยปาดเก็บเหมือนๆ เดเนี่ยล คลอสเตอร์
น่าจะเป็นแบบน้าปุ้มว่าครับ ใบ Lauri PT 77 ของฟินแลนด์ครับพี่
http://i47.tinypic.com/2qdx2ts.jpg
http://i47.tinypic.com/2cz1nhg.jpg
O1 = 63 Rc ... :rolleyes:... ใช้แล้วเป็นยังไงบ้างอ่ะครับ ในความรู้สึกของผม ผมว่ามันแข็งมากเกินกว่าที่จะมีเหนียวอยู่ รึเปล่า? ... ไม่เคยใช้ O1 ที่แข็งขนาดนี้น่ะครับ :)
pum_rakwana
05-10-12, 09:59 AM
O1 = 63 Rc ... :rolleyes:... ใช้แล้วเป็นยังไงบ้างอ่ะครับ ในความรู้สึกของผม ผมว่ามันแข็งมากเกินกว่าที่จะมีเหนียวอยู่ รึเปล่า? ... ไม่เคยใช้ O1 ที่แข็งขนาดนี้น่ะครับ :)
เขาคงมั่นใจในสแกนดี้กรายด์ว่ามันเอาอยู่ แต่ถ้าบุญโฮมกรายด์ในช่วงสองปีหลังมานี่ล่ะก็ หุหึ:cool:
ไล่เนื้อหามาเนียนๆ ก็คงลับไม่ยาก บลูฯ 63-64 ยังชิวๆ:D ;)
เขาคงมั่นใจในสแกนดี้กรายด์ว่ามันเอาอยู่ แต่ถ้าบุญโฮมกรายด์ในช่วงสองปีหลังมานี่ล่ะก็ หุหึ:cool:
ไล่เนื้อหามาเนียนๆ ก็คงลับไม่ยาก บลูฯ 63-64 ยังชิวๆ:D ;)
ป่าวครับ ไม่ได้ห่วงเรื่องลับคม ... แต่ว่าพูดถึงการใช้งาน :D แข็งดี ชอบ... ลืมไปว่ามันอยู่บนมีดเล็กไม่ได้เอาไปสับฟันอะไรนี่เน๊อะ :D
pum_rakwana
05-10-12, 03:01 PM
ป่าวครับ ไม่ได้ห่วงเรื่องลับคม ... แต่ว่าพูดถึงการใช้งาน :D แข็งดี ชอบ... ลืมไปว่ามันอยู่บนมีดเล็กไม่ได้เอาไปสับฟันอะไรนี่เน๊อะ :D
ต้องลองจั๊กหน่อย หนอนน้อยคืนไฟ 180
ต้องลองจั๊กหน่อย หนอนน้อยคืนไฟ 180
ไม่สะใจหรอก หนอนใหญ่นั่นแหละ คืน 180 ... แล้วเอามาฟัน ฮ่า ฮ่า :D
ไม่สะใจหรอก หนอนใหญ่นั่นแหละ คืน 180 ... แล้วเอามาฟัน ฮ่า ฮ่า :D
น่ากลัว ขนาดคัตติ้ง ตาโฮมแกยังมาซะหวานเจี๊ยบ :D
น่ากลัว ขนาดคัตติ้ง ตาโฮมแกยังมาซะหวานเจี๊ยบ :D
อิอิ .. มันจะ "แป๊ะ" เอาดิ :p
ท่านผู้รู้คร้าบ..ผมสมาชิกเก่า....แต่ไม่ค่อยได้โพสต์...
อ่านแล้วไม่เข้าใจ....ช่วยกรุณาแถลงเขียนให้พอเสียบได้หน่อยครับท่าน....
:crying::):love::confused::eek::p;):rolleyes::cool::bullseye:
pum_rakwana
06-10-12, 01:54 PM
ท่านผู้รู้คร้าบ..ผมสมาชิกเก่า....แต่ไม่ค่อยได้โพสต์...
อ่านแล้วไม่เข้าใจ....ช่วยกรุณาแถลงเขียนให้พอเสียบได้หน่อยครับท่าน....
:crying::):love::confused::eek::p;):rolleyes::cool::bullseye:
ดีแล้วล่ะที่ลุงไม่เข้าใจ :p
ไม่มีไร
เขาเถียงกันเรื่อง เครื่องยนต์ดีเซล กับเบนซิล อันไหนดีกว่ากัน :D:D
ดุ๊ยดุ่ย
06-10-12, 09:48 PM
ดีแล้วล่ะที่ลุงไม่เข้าใจ :p
ไม่มีไร
เขาเถียงกันเรื่อง เครื่องยนต์ดีเซล กับเบนซิล อันไหนดีกว่ากัน :D:D
เป็นจั่งซั่นติน้า.ป....:D
กระทู้เก่าแล้วแต่ดันเพิ่งเสริชมาเจอ:love: ขออนุญาตออกความเห็นในฐานะเป็นคนสนใจเรื่องเหล็กเหมือนกันครับ:D
โครงสร้าง martensite ในเหล็กกล้าคารบอน 0.6-1% ที่ผ่านการอบชุบอย่างถูกต้องถือเป็นอุดมคติในการเป็นคมมีด เป็นสิ่งที่มีความแข็งแกร่ง แข็ง เหนียว อย่างที่วัตถุอื่นๆทั้งหมดในโลกไม่สามารถเป็นได้ ไม่มีโลหะใดในโลกที่สามารถใช้ทำใบตัดได้ดีเหมือนเหล็กคารบอนที่อบชุบแล้ว นี่เป็นเหตุผลว่าใบมีดตั้งแต่มีดเล็ก ดาบ เลื่อยวงเดือน ยันใบพัดในเทอรไบน์เครื่องบินเจ็ทต้องสร้างจากเหล็กทั้งสิ้น
คารบอนที่ต่ำกว่านี้หรือมากกว่านี้จะเกิด martensite ในรูปแบบที่ไม่เหมาะกับการเป็นมีด น้อยกว่า 0.6 จะเป็น lath martensite ซึ่งไม่แข็งแกร่ง หากมากกว่า 1% ก็จะเป็น plate martensite ที่เปราะ
เหล็กสแตนเลสใหม่ๆถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเพิ่มการกันสนิม, ทนความร้อน, ทนการเสียดสี โดนการใส่โครเมี่ยมธาตุอัลลอยด์ต่างๆเข้าไปในเหล็ก
โครเมี่ยมที่ไม่ได้จับตัวกับคารบอนจะอยู่ในรูปของโครเมี่ยมธรรมดาๆกระจายในเนื้อเหล็ก โครเมี่ยมเหล่านี้เมื่อโดนออกซิเจนในอากาศ จะเกิดออกซิเดชั่นเป็นโครเมี่ยมออกไซดอยู่ที่ผิวของเหล็ก ซึ่งตรงนี้เองทำให้คุณสมบัติกันสนิมเกิดขึ้น แต่อีกด้านนึง โครเมี่ยมเป็นโลหะที่มีลักษณะ gummy เหนียวๆลื่นๆมมีขนาดของเกรนที่ใหญ่และค่อนข้างอ่อน เมื่อผสมเข้าไปจึงทำให้เหล็กลับยากขึ้นและเสียความคมจัดของไฮคารบอนไป
โครเมี่ยมและอัลลอยด์อื่นๆที่เหลือจะไปจับตัวกับคารบอน ฟอร์มเป็นคารไบด์ที่มีความแข็งกระจายอยู่ในเนื้อเหล็ก ปริมาณคาร์บอนในเหล็กสแตนเลสจึงสามารถมากกว่า 1% ได้เพราะคารบอนที่เกินจาก austenite to martensite จะถูกใช้ไปในการฟอร์มคารไบด์
คารไบด์ในสแตนเลสหรือเหล็กอัลลอยด์จะช่วยป้องกันการขัดสีจากว abrasive ทั้งหลาย ในการเอามีดไปใช้ตัดอะไรก็ตามที่มีความ abrasive สูง เหล็กที่มีคารไบด์จำนวนมากจะทำได้ดีกว่าเสมอ
แต่โครเมี่ยมและธาตุอัลลอยด์อื่นที่เข้าไปฟอรม์คารไบด์ในเหล็กจะกระจายตัวไปแทนที่เนื้อเหล็กที่เป็นโครงสร้าง martensite ดังนั้นเหล็กที่มีอัลลอยด์สูงจะเสียความแข็งแกร่ง ความเหนียว การให้ตัว ของเหล็กไฮคารบอนแท้ๆที่เป็น 100% martensite ไป
สรุปว่าเหล็กสแตนเลสจะได้เรื่องความกันสนิมและ wear resistance ที่มากกว่า ในส่วนของความแข็งแกร่ง edge stability ความเหนียว การเป็นสปริง เหล็กไฮคารบอนก็ยังได้เปรียบอยู่ดี
ในการใช้งานจริงๆของมีด ยกตัวอย่างเช่นมีดครัว เวลาหั่นเนื้อหั่นแตงกวาคมมีดจะต้องกระแทกกับเขียงเสมอ การทื่อที่เกิดขึ้นในการใช้งานส่วนใหญ่ๆผมเชื่อว่าส่วนใหญ่เป็น micro chipping ในขนาดที่เล็ก มากกว่าการ wear out เป็นโดนขัดสี
เหล็กไฮคารบอนที่มี edge stability และความเหนียวมากกว่ามีโอกาสดีกว่าที่จะรักษาคมชนะสแตนเลสในการใช้งานปานกลาง-หนัก การตัดวัตถุแข็งๆ รวมไปถึงการใช้งานเบาที่มี user error สูง เช่นตัดเทปแล้วเลยไปกระแทกโต๊ะกระจก etc.
เหล็กสแตนเลสคารไบด์สูงจะรักษาคมดีกว่าเฉพาะการใช้งานตัดวัสดุอ่อนแต่มีการเสียดทานสูงเช่น cardboard กล่อง กระดาษ
:2TU::2TU::2TU: :love:
เหล็กสแตนเลสคารไบด์สูงจะรักษาคมดีกว่าเฉพาะการใช้งานตัดวัสดุอ่อนแต่มีการเสียดทานสูงเช่น cardboard กล่อง กระดาษ
ผมคิดว่าแบบนี้แหละ ...แต่ไม่รู้จะพูดออกมายังไง
มันได้มาจากประสบการณ์การใช้มีด (เกรงจะว่ามั่ว)
:o
ช่างดาบ
25-11-13, 08:37 PM
:2TU:
กระทู้เก่าแล้วแต่ดันเพิ่งเสริชมาเจอ:love: ขออนุญาตออกความเห็นในฐานะเป็นคนสนใจเรื่องเหล็กเหมือนกันครับ:D
โครงสร้าง martensite ในเหล็กกล้าคารบอน 0.6-1% ที่ผ่านการอบชุบอย่างถูกต้องถือเป็นอุดมคติในการเป็นคมมีด เป็นสิ่งที่มีความแข็งแกร่ง แข็ง เหนียว อย่างที่วัตถุอื่นๆทั้งหมดในโลกไม่สามารถเป็นได้ ไม่มีโลหะใดในโลกที่สามารถใช้ทำใบตัดได้ดีเหมือนเหล็กคารบอนที่อบชุบแล้ว นี่เป็นเหตุผลว่าใบมีดตั้งแต่มีดเล็ก ดาบ เลื่อยวงเดือน ยันใบพัดในเทอรไบน์เครื่องบินเจ็ทต้องสร้างจากเหล็กทั้งสิ้น
คารบอนที่ต่ำกว่านี้หรือมากกว่านี้จะเกิด martensite ในรูปแบบที่ไม่เหมาะกับการเป็นมีด น้อยกว่า 0.6 จะเป็น lath martensite ซึ่งไม่แข็งแกร่ง หากมากกว่า 1% ก็จะเป็น plate martensite ที่เปราะ
เหล็กสแตนเลสใหม่ๆถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเพิ่มการกันสนิม, ทนความร้อน, ทนการเสียดสี โดนการใส่โครเมี่ยมธาตุอัลลอยด์ต่างๆเข้าไปในเหล็ก
โครเมี่ยมที่ไม่ได้จับตัวกับคารบอนจะอยู่ในรูปของโครเมี่ยมธรรมดาๆกระจายในเนื้อเหล็ก โครเมี่ยมเหล่านี้เมื่อโดนออกซิเจนในอากาศ จะเกิดออกซิเดชั่นเป็นโครเมี่ยมออกไซดอยู่ที่ผิวของเหล็ก ซึ่งตรงนี้เองทำให้คุณสมบัติกันสนิมเกิดขึ้น แต่อีกด้านนึง โครเมี่ยมเป็นโลหะที่มีลักษณะ gummy เหนียวๆลื่นๆมมีขนาดของเกรนที่ใหญ่และค่อนข้างอ่อน เมื่อผสมเข้าไปจึงทำให้เหล็กลับยากขึ้นและเสียความคมจัดของไฮคารบอนไป
โครเมี่ยมและอัลลอยด์อื่นๆที่เหลือจะไปจับตัวกับคารบอน ฟอร์มเป็นคารไบด์ที่มีความแข็งกระจายอยู่ในเนื้อเหล็ก ปริมาณคาร์บอนในเหล็กสแตนเลสจึงสามารถมากกว่า 1% ได้เพราะคารบอนที่เกินจาก austenite to martensite จะถูกใช้ไปในการฟอร์มคารไบด์
คารไบด์ในสแตนเลสหรือเหล็กอัลลอยด์จะช่วยป้องกันการขัดสีจากว abrasive ทั้งหลาย ในการเอามีดไปใช้ตัดอะไรก็ตามที่มีความ abrasive สูง เหล็กที่มีคารไบด์จำนวนมากจะทำได้ดีกว่าเสมอ
แต่โครเมี่ยมและธาตุอัลลอยด์อื่นที่เข้าไปฟอรม์คารไบด์ในเหล็กจะกระจายตัวไปแทนที่เนื้อเหล็กที่เป็นโครงสร้าง martensite ดังนั้นเหล็กที่มีอัลลอยด์สูงจะเสียความแข็งแกร่ง ความเหนียว การให้ตัว ของเหล็กไฮคารบอนแท้ๆที่เป็น 100% martensite ไป
สรุปว่าเหล็กสแตนเลสจะได้เรื่องความกันสนิมและ wear resistance ที่มากกว่า ในส่วนของความแข็งแกร่ง edge stability ความเหนียว การเป็นสปริง เหล็กไฮคารบอนก็ยังได้เปรียบอยู่ดี
ในการใช้งานจริงๆของมีด ยกตัวอย่างเช่นมีดครัว เวลาหั่นเนื้อหั่นแตงกวาคมมีดจะต้องกระแทกกับเขียงเสมอ การทื่อที่เกิดขึ้นในการใช้งานส่วนใหญ่ๆผมเชื่อว่าส่วนใหญ่เป็น micro chipping ในขนาดที่เล็ก มากกว่าการ wear out เป็นโดนขัดสี
เหล็กไฮคารบอนที่มี edge stability และความเหนียวมากกว่ามีโอกาสดีกว่าที่จะรักษาคมชนะสแตนเลสในการใช้งานปานกลาง-หนัก การตัดวัตถุแข็งๆ รวมไปถึงการใช้งานเบาที่มี user error สูง เช่นตัดเทปแล้วเลยไปกระแทกโต๊ะกระจก etc.
เหล็กสแตนเลสคารไบด์สูงจะรักษาคมดีกว่าเฉพาะการใช้งานตัดวัสดุอ่อนแต่มีการเสียดทานสูงเช่น cardboard กล่อง กระดาษ
กระทุ้งฟ้า
26-11-13, 09:51 AM
ว่าไปเหมือนเอาเปรียบคนอื่น พอถึงข้อมูลลึกๆแล้วผมเบื่อที่จะอ่าน จินตนาการไปไม่ถึง
อาจเป็นเพราะขาดประสบการณ์หน้าเตาไฟ
มาหลังๆเลยคิดง่ายๆ ขอเป็นของดีคุ้มราคาก็เอาแล้ว สิ่งที่ได้กับเงินที่จ่ายแล้วสบายใจ
ตัวหลังสุดเล่นซูเปอร์บลู/420j1 ของสไปดี้ หวังว่ามันคงคุ้มเงินไม่ถึงสามพัน :p
http://www.gpknives.com/images/spyderco/C10FPGYE%5Blarge%5D.1375813288.jpg
Powered by vBulletin® Version 4.2.3 Copyright © 2025 vBulletin Solutions, Inc. All rights reserved.