ครูหนึ่ง
13-11-13, 02:25 PM
ดาบสกุลช่างสรรคบุรี
เมืองสรรคบุรี เป็นเมืองเก่า ตั้งแต่สมัยสุโขทัย จึงเป็นต้นธารของความเจริญรุ่งเรืองในสายแม่น้ำน้อย ดาบสกุลช่างสรรคบุรี มีลักษณะที่โดดเด่นคือ ยกเร็ว ฟันหนัก ใบแกร่ง
- ยกเร็ว เพราะความโค้งของใบประสานกับเทคนิคการเข้าด้าม ทำให้เวลาเงื้อดาบรู้สึกว่ายกง่าย
- ฟันหนัก เพราะมีความหนาของใบ จากโคนถึงปลายแบบสม่ำเสมอและความหนาไม่มากนัก ทำให้นำหนักฟันมาทั้งเล่ม
- ใบแกร่ง เพราะเทคนิคโครงสร้างใบ ที่รักษาแนวโครงสร้างชัดเจนแม้ใบไม่หนามาก แต่ความแข็งแกร่งไม่ได้ลดทอนลง
เชิญรับชมครับ....
พอหลังที่ ดาบต้นแบบออกโชว์ตัวที่งานเชียงใหม่ ทำให้ได้เกิดการปรับปรุงในหลายด้าน
http://image.free.in.th/v/2013/iu/131113013605.jpg (http://pic.free.in.th/id/a2dd7f8b0d23e0184f6c0121dc82c0fd)
น้ำหนักเบาขึ้น(ต้นแบบ 675 กรัม เล่มใหม่ 665 กรัม) เงื้อเร็วขึ้น น้ำหนักฟันหนักหน่วงแต่ควบคุมง่ายกว่าเดิม
http://image.free.in.th/v/2013/ib/131113013725.jpg (http://pic.free.in.th/id/83982c2323ba996b311e9009d47614a8)
อีกทั้งเพิ่มความอวบของด้าม ทำให้จับถนัดขึ้นด้วย
http://image.free.in.th/v/2013/iv/131113013841.jpg (http://pic.free.in.th/id/2f1d3f260deb534861d46ad19d51c771)
ชุดปะกันรับแรงจากน่าบ่า ฟันให้ตายด้ามก็ไม่แตก ด้ามทำจากไม้มะค่า เสี้ยนใหญ่ไม่ลื่นมือ
http://image.free.in.th/v/2013/if/131113014113.jpg (http://pic.free.in.th/id/3dc0e768456177dd4f84094b6f02db0d)
ท้ายด้ามลงชันไ้ว้ แต่เดิม ช่างไม่ปิดชัน ให้ลูกค้าไปถ่วงด้ามเอง แล้วปิดชันเอง แต่ผมมั่นใจว่ามันลงตัวดีแล้วจึงปิดชันเลย ถือเป็นการจบงาน
http://image.free.in.th/v/2013/is/131113014359.jpg (http://pic.free.in.th/id/309d1d31706ed4e44a2eaff8eea8c7ff)
สมดุลดาบ อยู่ไม่ห่างจุดจับ (จับให้นิ้วชี้เกี่ยวลูกแก้ว)
http://image.free.in.th/v/2013/ie/131113014608.jpg (http://pic.free.in.th/id/c33cf467a7d4979cf141d99e588e874c)
เมืองสรรคบุรี เป็นเมืองเก่า ตั้งแต่สมัยสุโขทัย จึงเป็นต้นธารของความเจริญรุ่งเรืองในสายแม่น้ำน้อย ดาบสกุลช่างสรรคบุรี มีลักษณะที่โดดเด่นคือ ยกเร็ว ฟันหนัก ใบแกร่ง
- ยกเร็ว เพราะความโค้งของใบประสานกับเทคนิคการเข้าด้าม ทำให้เวลาเงื้อดาบรู้สึกว่ายกง่าย
- ฟันหนัก เพราะมีความหนาของใบ จากโคนถึงปลายแบบสม่ำเสมอและความหนาไม่มากนัก ทำให้นำหนักฟันมาทั้งเล่ม
- ใบแกร่ง เพราะเทคนิคโครงสร้างใบ ที่รักษาแนวโครงสร้างชัดเจนแม้ใบไม่หนามาก แต่ความแข็งแกร่งไม่ได้ลดทอนลง
เชิญรับชมครับ....
พอหลังที่ ดาบต้นแบบออกโชว์ตัวที่งานเชียงใหม่ ทำให้ได้เกิดการปรับปรุงในหลายด้าน
http://image.free.in.th/v/2013/iu/131113013605.jpg (http://pic.free.in.th/id/a2dd7f8b0d23e0184f6c0121dc82c0fd)
น้ำหนักเบาขึ้น(ต้นแบบ 675 กรัม เล่มใหม่ 665 กรัม) เงื้อเร็วขึ้น น้ำหนักฟันหนักหน่วงแต่ควบคุมง่ายกว่าเดิม
http://image.free.in.th/v/2013/ib/131113013725.jpg (http://pic.free.in.th/id/83982c2323ba996b311e9009d47614a8)
อีกทั้งเพิ่มความอวบของด้าม ทำให้จับถนัดขึ้นด้วย
http://image.free.in.th/v/2013/iv/131113013841.jpg (http://pic.free.in.th/id/2f1d3f260deb534861d46ad19d51c771)
ชุดปะกันรับแรงจากน่าบ่า ฟันให้ตายด้ามก็ไม่แตก ด้ามทำจากไม้มะค่า เสี้ยนใหญ่ไม่ลื่นมือ
http://image.free.in.th/v/2013/if/131113014113.jpg (http://pic.free.in.th/id/3dc0e768456177dd4f84094b6f02db0d)
ท้ายด้ามลงชันไ้ว้ แต่เดิม ช่างไม่ปิดชัน ให้ลูกค้าไปถ่วงด้ามเอง แล้วปิดชันเอง แต่ผมมั่นใจว่ามันลงตัวดีแล้วจึงปิดชันเลย ถือเป็นการจบงาน
http://image.free.in.th/v/2013/is/131113014359.jpg (http://pic.free.in.th/id/309d1d31706ed4e44a2eaff8eea8c7ff)
สมดุลดาบ อยู่ไม่ห่างจุดจับ (จับให้นิ้วชี้เกี่ยวลูกแก้ว)
http://image.free.in.th/v/2013/ie/131113014608.jpg (http://pic.free.in.th/id/c33cf467a7d4979cf141d99e588e874c)